หน่วยที่ 8 โปรแกรมช่วยงาน (Utility)
สาระสำคัญ
โปรแกรมช่วยงานหรือยูทิลีตี้
(Utility) คือ
โปรแกรมที่ช่วยในการปรับแต่งหรือแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์
โดยโปรแกรมยูทิลีตี้ที่ใช้ในงานประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ มี 2 โปรแกรมหลัก คือโปรแกรม Partition
Magic ซึ่งใช้ช่วยในการจัดการและปรับแต่งพาร์ตชันของฮาร์ดดิสก์
และ โปรแกรม Norton Ghost ซึ่งใช้สำหรับการคัดลอกโปรแกรมหรือโคลน(clone)ฮาร์ดดิสก์ เพื่อลดเวลาในการติดตั้งโปรแกรม
เรื่องที่จะศึกษา
- โปรแกรมช่วยงาน (Utility)
- การใช้โปรแกรม Partiton Magic
- การใช้โปรแกรม Norton Ghost
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.
บอกหน้าที่ของโปรแกรมยูทิลิตี้ได้
2.
สามารถใช้งานโปรแกรม Partition Magic ได้
3.
สามารถใช้งานโปรแกรม Norton Ghost ได้
4.
มีวินัยในการทำงาน
โปรแกรมช่วยงาน (Utility)
โปรแกรมอรรถประโยชน์
หรือ Utility Program คือ โปรแกรมที่ติดมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการวินโดว์
เรียกง่ายๆว่าเป็นโปรแกรมที่ช่วยดูแลระบบการทำงานของวินโดว์เพราะมีหลากหลายประเภท
เช่น ประเภทการจัดไฟล์ ป้องกันไวรัส บีบอัดไฟล์ ฯลฯ
......................................................................................................
หลังจากที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows XP และ ไดร์เวอร์ต่างๆแล้ว
สิ่งที่ต้องคำนึงเป็นอันดับแรกในการใช้งานทางคอมพิวเตอร์คือโปรแกรมที่จะมาช่วยสนับสนุนการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่าโปรแกรมอรรถประโยชน์
(Utility) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพตามบุคลิกภาพของผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ของตนเอง
สำหรับผมจะแบ่งโปรแกรมUtilityการใช้งานออกเป็นส่วนๆตามลำดับการใช้งานจากประสบการณ์ที่มีของผมเอง(ระดับชาวบ้านครับ..มิใช่เทพฯ
) ซึ่งสืบเสาะขอและค้นหาได้มาโดย..ฟรี .. ดังนี้
1. โปรแกรมสามัญทั่วไป
- Win
rar
-
Win Zip
2. ดูแลป้องกัน รักษาคอมพิวเตอร์ให้ปลอดภัยจากการคุกคามของไวรัส
-
Avira AntiVir Premium 8.1.00.331 หรือไม่ก็ kaspersky
-
Spyware_Doctor_6.0.0.354 หรือไม่ก็ Spy
Emergency 2007 v4.0.345.0
- AHDV1.3.7SP1-Setup2
- cpe17antiautorun1330
3. โปรแกรมติดตั้งเพื่อความบันเทิง(ช๊อบ..ชอบ)
- Winamp
- CyberLink.PowerDVD
- K-Lite
Codec Pack
- eXtreme
Karaoke ร้องคาราโอเกะ
- Nick
win คาราโอเกะ
- All
in one คาราโอเกะ
4. โปรแกรมด้านพิมพ์ด้านการจัดการเอกสารต่างๆ
- Microsoft
Office 2007 ภาษาไทย
- FONT ( DSN
/ PSL / KS / คิกขุอาโนเน่ะแบบเด็กๆ)
-
โปรแกรมแปลอังกฤษ-ไทย
5. โปรแกรมเกี่ยวกับภาพ
- ACDSee
Pro 2.0.219 ดูภาพ
- Adobe
Photoshop CS2 v9.0 ตกแต่งภาพ
6. โปรแกรมเพื่อการแบ่งปัน (ก๊อปปี้)
- Nero.7.Lite.v7.7.5.1.Micro.Edition
- Clone CD 2.8
- Ultra_iso_9
7. โปรแกรมที่สนใจศึกษาค้นคว้า
-
มหาหมอดู 6.54(มีมงคลชีวิต38 ประการ)
-
โปรแกรม พุทธประวัติ - 2bbit
-
โปรแกรมท่องนรก (ไปเที่ยวมั้ง..??)
8. โปรแกรมถอนการติดตั้ง
- Your.Uninstaller.2008.PRO.v6.1.1246.
- Absolute.Uninstaller.v2.0.WinALL
*** 1-8 *** เป็นโปรแกรมที่ควรติดเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆไปไว้ใช้งาน
9. โปรแกรมงานด้านความถนัดเฉพาะตน/และสนใจศึกษา
- Autodesk
AutoSketch R7.0
- AutoCAD
2008
- SweetHome3D - ออกแบบแปลนบ้าน
10. โปรแกรมเกี่ยวกับการจัดการข้อมูล/พาทิชั่น
- UltimateDefrag
ver.1.69
- PartitionMagic.v8.05.Retail
11. โปรแกรมเพื่อการศึกษาและนำเสนอ
- Techsmith
SnagIt ver. 8.2.0 จับภาพหน้าจอ
- Able2Doc.v.2.0 - Pdf to Word
- Adobe
Acrobat 7.0 Professional
12. โปรแกรมแก้ไข – ซ่อมแซมคอมพิวเตอร์ – และปรับแต่ง
- set
regedit ของ XP ให้ทำงานเร็วขึ้นแบบสุด
สุด 100 %
- Registry
Booster v2.0.1041.3208
- Registry.Repair 2.2
- Error
Repair Professional Ver. 3.7.6
- TweakUI.2.10.Powertoy
-
โปรแกรม Crackเวลา
-
โปรแกรมดูดไดร์เวอร์ก่อน Format
- Hiren's
BootCD
-
ฯลฯ
......................................................................................................................
Utility โปรแกรมใช้งานทั่วๆไปที่ส่วนมากจะติดตั้งมาพร้อมกับแผ่นติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows
XPแบบเบ็ดเสร็จ
ถ้าคุณไม่ติดตั้งมันเข้าไปเอง มันก็คงมากับแผ่น Windows Version ต่างๆของคุณนั่นหล่ะครับ
ถ้าไม่เห็นแก่ประโยชน์ หรืไม่ชอบ แนะนำให้ Uninstall ออกนะครับ
ถ้าหากหาใน Add-Remove ไม่เจอละก็ (ส่วนมากโปรแกรมที่ทำ Unattanded ในชุดติดตั้ง windows มักไม่ค่อยปรากฏรายการ Uninstall ให้เห็น)
ให้เข้าไปในโฟล์เดอร์ของโปรแกรมเลย ซึ่งน่าจะปรากฏไฟล์ Uninstall,Remove หรือที่ขึ้นต้นชื่อว่าUn*.exe เพื่อใช้สำหรับการ Uninstall อยู่ครับ
........................................................................................................................
7-Zip < โปรแกรมบีบอัดไฟล์ครับ สามารถแตกไฟล์นามสกุล 7zip ได้
Desktop ข้างในมีโปรแกรม RenameMaster (มันคืออะไรครับ หรือโปรแกรมไว้เปลี่ยนชื่อ) < น่าจะเอาไว้เปลี่ยนชื่อไฟล์ที่ไม่สามารถเปลี่ยนได้
DVD Decrypter < น่าจะเอาไว้อ่าน zone dvd (ซึ่งไม่จำเป็นเลย dvd ทุกตัวเมื่อลง windows มาใหม่ๆ จะไม่ lock zone อยู่แล้ว)
Foxit Software ข้างในมี Foxit Reader < (เอาไว้อ่าน e-book เหมือน acrobat)
HashTab Shell Extension < (น่าจะมีไว้เพิ่มเมนูพิเศษเวลาคลิ๊กขวา)
LClock < (ทำนาฬิกาที่ Taskbar ให้เหมือน Longhorn)
Utilities < (รวมโปรแกรม Utilities ต่างๆหรือเปล่า)
xerox < (อันนี้มีมากับ xp ครับ ไม่ต้องลบ)
ถ้าคุณไม่ติดตั้งมันเข้าไปเอง มันก็คงมากับแผ่น Windows Version ต่างๆของคุณนั่นหล่ะครับ
ถ้าไม่เห็นแก่ประโยชน์ หรืไม่ชอบ แนะนำให้ Uninstall ออกนะครับ
ถ้าหากหาใน Add-Remove ไม่เจอละก็ (ส่วนมากโปรแกรมที่ทำ Unattanded ในชุดติดตั้ง windows มักไม่ค่อยปรากฏรายการ Uninstall ให้เห็น)
ให้เข้าไปในโฟล์เดอร์ของโปรแกรมเลย ซึ่งน่าจะปรากฏไฟล์ Uninstall,Remove หรือที่ขึ้นต้นชื่อว่าUn*.exe เพื่อใช้สำหรับการ Uninstall อยู่ครับ
........................................................................................................................
7-Zip < โปรแกรมบีบอัดไฟล์ครับ สามารถแตกไฟล์นามสกุล 7zip ได้
Desktop ข้างในมีโปรแกรม RenameMaster (มันคืออะไรครับ หรือโปรแกรมไว้เปลี่ยนชื่อ) < น่าจะเอาไว้เปลี่ยนชื่อไฟล์ที่ไม่สามารถเปลี่ยนได้
DVD Decrypter < น่าจะเอาไว้อ่าน zone dvd (ซึ่งไม่จำเป็นเลย dvd ทุกตัวเมื่อลง windows มาใหม่ๆ จะไม่ lock zone อยู่แล้ว)
Foxit Software ข้างในมี Foxit Reader < (เอาไว้อ่าน e-book เหมือน acrobat)
HashTab Shell Extension < (น่าจะมีไว้เพิ่มเมนูพิเศษเวลาคลิ๊กขวา)
LClock < (ทำนาฬิกาที่ Taskbar ให้เหมือน Longhorn)
Utilities < (รวมโปรแกรม Utilities ต่างๆหรือเปล่า)
xerox < (อันนี้มีมากับ xp ครับ ไม่ต้องลบ)
การใช้โปรแกรม Partition Magic
บางครั้งเมื่อเราซื้อฮาร์ทดิสต์มาใหม่
แต่ฮาร์ทดิสต์อาจจะยังไม่ได้มีการสร้างพาร์ทิชั่นเอาไว้เลย
เราจึงต้องทำการสร้างพาร์ทิชั่นก่อน ซึ่งโปรแกรม Partition Magic จัดได้ว่าเป็นโปรแกรมอันดับต้นๆ
ในด้านการจัดการพาร์ทิชั่น เพราะ อยู่ในรูปแบบกราฟิกโหมด และ ใช้งานง่าย
ทำไมจึงควรแบ่งพาร์ทิชั่น
1.
ถ้าเราแยกเก็บข้อมูล และไฟล์ระบบ ไว้คนละพาร์ทิชั่น เมื่อ Windows มีปัญหา
เราสามารถฟอร์แมต พาร์ทิชั่นที่เก็บไฟล์ระบบ แล้วทำการติดตั้งใหม่ได้ทันที
แต่ถ้าเราเก็บข้อมูลไว้ที่เดียวกับ พาร์ทิชั่นระบบ
เราต้องทำการแบ๊คอัพข้อมูลเอาไว้ก่อน ซึ่งถ้าข้อมูลมีมาก
ก็คงใช้เวลาพอสมควรเลยทีเดียว
2.
ถ้าระบบพาร์ทิชั่นเป็น FAT32 จะไม่สามารถใช้งานกับพาร์ทิชั่นที่เกิน 127.53
GB ได้ (ถึงแม้ว่าในทางทฤษฎีจะสามารถใช้กับพาร์ทิชั่นได้ถึง 2
TB ก็ตาม)
การสร้างพาร์ทิชั่น
บนฮาร์ตดิสต์ที่ยังไม่มีพาร์ทิชั่น
1. เมื่อเปิดโปรแกรม PartitionMagic ขึ้นมา โปรแกรมจะทำการตรวจสอบว่า เรามีฮาร์ดดิสต์จำนวนเท่าไหร่
มีการแบ่งพาร์ทิชั่นเป็นแบบไหนบ้าง และระบบพาร์ทิชั่นเป็นระบบอะไร เช่น เป็น FAT32,
NTFS หรือ Linux เป็นต้น
จากรูปจะเห็นว่าเครื่องนี้มีฮาร์ทดิสต์เพียงตัวเดียว และยังไม่มีการสร้างพาร์ทิชั่นไว้เลย
2. คลิกขวาที่คำว่า Unallocated ที่อยู่ในแถบสีเทา แล้วเลือก Create เพื่อเริ่มต้นสร้างพาร์ทิชั่นแรก
3. ที่หน้าต่าง Create Partition ในช่อง Create as ให้ทำการเลือก Primary Partition เพราะนี่เป็นพาร์ทิชั่นแรก ที่เราจะทำการสร้าง
4. ที่ช่อง Partition Type ตรงส่วนนี้จะเป็นการเลือกว่าต้องการพาร์ทิชั่นระบบไหน ซึ่งถ้าเป็นวินโดว์ XP จะสามารถใช้ได้ทั้ง FAT32 และ NTFS แต่ถ้าเป็น Windows 98se หรือ Windowsวินโดว์ ME จะใช้ได้แค่ FAT32 (FAT16 ก็ใช้ได้ แต่ไม่แนะนำ เพราะเป็นระบบเก่ามากแล้ว) ในที่นี้แนะนำให้เลือกเป็น FAT32 ไว้ก่อน เพราะ Windows XP สามารถแปลง FAT32 เป็น NTFS ได้ แต่ไม่สามารถแปลง NTFS เป็น FAT32 ได้
5. ที่ช่อง Label ช่องนี้จะใช้ในการตั้งชื่อของพาร์ทิชั่น ในที่นี้ตั้งชื่อว่า "Drive-C"
6. ที่ช่อง Size จะใช้ในการกำหนดขนาดของพาร์ทิชั่น ในที่นี้กำหนดเป็น 20,000 MB แต่ถ้าเราต้องการกำหนดเป็นเปอร์เซ็นต์ก็ได้ โดยไปกำหนดที่ช่อง Percent of unallocated space แทน แล้วโปรแกรมจะคำนวณตัวเลขในช่อง Size ให้เราเอง เมื่อกำหนดเสร็จเรียบร้อยแล้วก็ให้คลิกที่ปุ่ม OK
7. จากรูปจะเห็นว่าไดร์ฟ C มีขนาด 20,002.8 MB แทนที่จะเป็น 20,000 MB ตามที่เรากำหนด ที่เป็นอย่างนี้ เพราะบางครั้งขนาดที่เรากำหนดไม่สามารถทำได้ (จริงๆ แล้วมีสาเหตุมาจากการแบ่งคลัสเตอร์ แต่ถ้าเอามาพูดในที่นี้จะเป็นการนอกเรื่องไป) โปรแกรมจะคำนวณขนาดที่เป็นไปได้ ที่ใกล้เคียงกับที่เราต้องการมากที่สุดให้
8. คลิกขวาที่ Unallocated ในแถบสีเทาที่เหลือ เลือกรายการ Create
9. ที่ช่อง Create as ให้เลือกเป็น Logical Partion
10. ช่อง Partition Type เป็น FAT32
11. ช่อง Label กำหนดเป็น Drive-D
12. ช่อง Percent of unallocated space กำหนดเป็น 100 เพราะเราต้องการใช้พื้นที่ที่เลือกทั้งหมด เสร็จแล้วก็คลิกที่ปุ่ม OK
13. ให้คลิกขวาที่ DRIVE-C แล้วเลือกรายการ Advanced -> Set Active... ที่ต้องกำหนด Active ให้ไดร์ฟ C เพราะ เราใช้ไดร์ฟ C เป็นตัวบูตระบบ
14. โปรแกรมจะให้เราทำการยืนยันอีกครั้งว่าต้องการกำหนด Active ให้กับ ไดร์ฟ C ก็ให้คลิกที่ปุ่ม OK
15. ก็เป็นอันเสร็จสิ้นการกำหนดพาร์ทิชั่น แต่ตอนนี้ฮาร์ทดิสต์ยังไม่ได้ถูกแบ่งพาร์ทิชั่น ให้เราตรวจสอบความเรียบร้อยซะก่อน ถ้าทุกอย่างถูกต้องก็ให้คลิกที่ปุ่ม Apply ได้เลย ซึ่งถ้าเป็นการแบ่งพาร์ทิชั่นที่เก็บไฟล์ระบบ (ส่วนมากจะเป็นไดร์ฟ C) โดยปกติโปรแกรมมักจะต้องรีบูตก่อนทำการแบ่งพาร์ทิชั่น
16. โปรแกรมจะสรุปให้เราดูว่า การแบ่งพาร์ทิชั่นที่เรากำหนด มีทั้งหมด 4 ขั้นตอน (จำนวนขั้นตอนการทำงานอาจจะแต่งต่างกันไปบ้าง) ให้เราคลิกที่ปุ่ม Yes เพื่อเริ่มทำการแบ่งพาร์ทิชั่นจริงๆ ซะที
Credit : http://www.comtrick.com/?gid=Norton&p=PartitionMagicNewDrive
2. คลิกขวาที่คำว่า Unallocated ที่อยู่ในแถบสีเทา แล้วเลือก Create เพื่อเริ่มต้นสร้างพาร์ทิชั่นแรก
3. ที่หน้าต่าง Create Partition ในช่อง Create as ให้ทำการเลือก Primary Partition เพราะนี่เป็นพาร์ทิชั่นแรก ที่เราจะทำการสร้าง
4. ที่ช่อง Partition Type ตรงส่วนนี้จะเป็นการเลือกว่าต้องการพาร์ทิชั่นระบบไหน ซึ่งถ้าเป็นวินโดว์ XP จะสามารถใช้ได้ทั้ง FAT32 และ NTFS แต่ถ้าเป็น Windows 98se หรือ Windowsวินโดว์ ME จะใช้ได้แค่ FAT32 (FAT16 ก็ใช้ได้ แต่ไม่แนะนำ เพราะเป็นระบบเก่ามากแล้ว) ในที่นี้แนะนำให้เลือกเป็น FAT32 ไว้ก่อน เพราะ Windows XP สามารถแปลง FAT32 เป็น NTFS ได้ แต่ไม่สามารถแปลง NTFS เป็น FAT32 ได้
5. ที่ช่อง Label ช่องนี้จะใช้ในการตั้งชื่อของพาร์ทิชั่น ในที่นี้ตั้งชื่อว่า "Drive-C"
6. ที่ช่อง Size จะใช้ในการกำหนดขนาดของพาร์ทิชั่น ในที่นี้กำหนดเป็น 20,000 MB แต่ถ้าเราต้องการกำหนดเป็นเปอร์เซ็นต์ก็ได้ โดยไปกำหนดที่ช่อง Percent of unallocated space แทน แล้วโปรแกรมจะคำนวณตัวเลขในช่อง Size ให้เราเอง เมื่อกำหนดเสร็จเรียบร้อยแล้วก็ให้คลิกที่ปุ่ม OK
7. จากรูปจะเห็นว่าไดร์ฟ C มีขนาด 20,002.8 MB แทนที่จะเป็น 20,000 MB ตามที่เรากำหนด ที่เป็นอย่างนี้ เพราะบางครั้งขนาดที่เรากำหนดไม่สามารถทำได้ (จริงๆ แล้วมีสาเหตุมาจากการแบ่งคลัสเตอร์ แต่ถ้าเอามาพูดในที่นี้จะเป็นการนอกเรื่องไป) โปรแกรมจะคำนวณขนาดที่เป็นไปได้ ที่ใกล้เคียงกับที่เราต้องการมากที่สุดให้
8. คลิกขวาที่ Unallocated ในแถบสีเทาที่เหลือ เลือกรายการ Create
9. ที่ช่อง Create as ให้เลือกเป็น Logical Partion
10. ช่อง Partition Type เป็น FAT32
11. ช่อง Label กำหนดเป็น Drive-D
12. ช่อง Percent of unallocated space กำหนดเป็น 100 เพราะเราต้องการใช้พื้นที่ที่เลือกทั้งหมด เสร็จแล้วก็คลิกที่ปุ่ม OK
13. ให้คลิกขวาที่ DRIVE-C แล้วเลือกรายการ Advanced -> Set Active... ที่ต้องกำหนด Active ให้ไดร์ฟ C เพราะ เราใช้ไดร์ฟ C เป็นตัวบูตระบบ
14. โปรแกรมจะให้เราทำการยืนยันอีกครั้งว่าต้องการกำหนด Active ให้กับ ไดร์ฟ C ก็ให้คลิกที่ปุ่ม OK
15. ก็เป็นอันเสร็จสิ้นการกำหนดพาร์ทิชั่น แต่ตอนนี้ฮาร์ทดิสต์ยังไม่ได้ถูกแบ่งพาร์ทิชั่น ให้เราตรวจสอบความเรียบร้อยซะก่อน ถ้าทุกอย่างถูกต้องก็ให้คลิกที่ปุ่ม Apply ได้เลย ซึ่งถ้าเป็นการแบ่งพาร์ทิชั่นที่เก็บไฟล์ระบบ (ส่วนมากจะเป็นไดร์ฟ C) โดยปกติโปรแกรมมักจะต้องรีบูตก่อนทำการแบ่งพาร์ทิชั่น
16. โปรแกรมจะสรุปให้เราดูว่า การแบ่งพาร์ทิชั่นที่เรากำหนด มีทั้งหมด 4 ขั้นตอน (จำนวนขั้นตอนการทำงานอาจจะแต่งต่างกันไปบ้าง) ให้เราคลิกที่ปุ่ม Yes เพื่อเริ่มทำการแบ่งพาร์ทิชั่นจริงๆ ซะที
Credit : http://www.comtrick.com/?gid=Norton&p=PartitionMagicNewDrive
การใช้โปรแกรม Norton Ghost
สร้างโฟลเดอร์ชื่อ Backup ไว้ในไดร์ D: นะครับ
จากนั้นใส่แผ่น Hiren Boot เข้าไปในถาดซีดี แล้วทำการตั้งไบออสให้บูทจาก CD
เมื่อบูทเข้ามาแล้ว ให้เลือกที่หัวข้อ Dos Boot CD
เลือกหัวข้อ Backup Tools.......
เลือกหัวข้อ Norton Ghost........
หัวข้อนี้เลือกตามรูปแบและขนาดที่เราต้องการ
หน้าต่างอื่นๆที่ขึ้นมาให้กด Enter ที่คีบอร์ดให้หมด
เข้าโปรแกรมโกสคลิก OK
เลือก Local >Partition >To Image
เลือกฮาร์ดดิสแล้วคลิก OK
เลือกพาทิชั่นที่ต้องการแบ็คอัพ ส่วนใหญ่เป็นพาทิชั่นแรก
คลิกที่แถบด้านบนเพื่อเลือกตำแหน่งที่เก็บไฟล์ คลิกไปที่โฟลเดอร์ Backup (ที่เราสร้างไว้รูปแรก)
ตั้งชื่อไฟล์ที่ต้องการเซฟเป็นอะไรก็ได้ แล้วคลิก Save
โปรแกรมจะถามว่า ต้องการสร้างไฟล์แบ็คอัพมั๊ย คลิก yes
จากนั้นก็รอจนกว่าจะแบ็คอัพเสร็จ ช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับขนาดของไดร์ C:
หลังจากที่เราทำการแบ็คอัพพาทิชั่นไว้แล้วนะครับ
หลายท่านจะข้ามขั้นตอนนี้ไป ซึ่งผิด
เราต้องทำการตรวจสอบไฟล์ที่เราได้ทำไว้ก่อนว่าเสียหายหรือเปล่า ตามขั้นตอนนี้
เลือกที่ Local >Check >Image File
เลือกไปที่ไฟล์ที่เราได้ทำการแบ็คอัพไว้เมื่อสักครู่
คลิก Yes
ถ้าตรวจสอบไฟล์ครบ 100% แสดงว่าไฟล์ที่แบ็คอัพไว้ไม่มีปัญหาอะไร
แต่ถ้าไฟล์เสียจะมีหน้าต่างบอกว่าไฟล์เสีย ให้ทำการแบ็คอัพใหม่อีกรอบ
เมื่อตรวจสอบไฟล์เรียบร้อยแล้ว จากนั้นก็คลิกที่ Quit เพื่อออกจากโปรแกรมได้เลยครับ
เราต้องทำการตรวจสอบไฟล์ที่เราได้ทำไว้ก่อนว่าเสียหายหรือเปล่า ตามขั้นตอนนี้
เลือกที่ Local >Check >Image File
เลือกไปที่ไฟล์ที่เราได้ทำการแบ็คอัพไว้เมื่อสักครู่
คลิก Yes
ถ้าตรวจสอบไฟล์ครบ 100% แสดงว่าไฟล์ที่แบ็คอัพไว้ไม่มีปัญหาอะไร
แต่ถ้าไฟล์เสียจะมีหน้าต่างบอกว่าไฟล์เสีย ให้ทำการแบ็คอัพใหม่อีกรอบ
เมื่อตรวจสอบไฟล์เรียบร้อยแล้ว จากนั้นก็คลิกที่ Quit เพื่อออกจากโปรแกรมได้เลยครับ
มาถึงการเรียกไฟล์ที่เราได้ทำการแบ็คอัพกลัมาใหช้เมื่อวินโดส์เกิดปัญหา
หรือติดไวรัส
ให้ทำการบูทด้วยแผ่น Hiren Boot แล้วเข้าไปที่หัวข้อ Dos Boot CD >Backup Tools >Norton Ghost
เลือก Local >Partition >From Image
เลือกไปที่ไฟล์ที่ได้แบ็คอัพเอาไว้ แล้วคลิก OK ตลอด
หน้าต่างนี้ถามว่าต้องการรีสโตร์มั๊ยคลิก Yes
รอจนครับ 100% จากนั้นก็รีสตาร์ทได้เลย ก็จะได้ระบปฏิบัติการที่อยู่ในสภาวะปกติ
เหมือนกับตอนที่ท่านได้ทำการแบ็คอัพเอาไว้ครับ ใช้เวลาแค่นิดเดียว
เฉลยแบบทดสอบ
1 ตอบ ค
2ตอบ ข
3ตอบ ก
4ตอบ ค
5ตอบ ง
6ตอบ ข
7ตอบ ก
8ตอบ ข
9ตอบ ง
10ตอบ ก
11ตอบ ง
12ตอบ ค
13ตอบ ข
14ตอบ ก
15ตอบ ค
ให้ทำการบูทด้วยแผ่น Hiren Boot แล้วเข้าไปที่หัวข้อ Dos Boot CD >Backup Tools >Norton Ghost
เลือก Local >Partition >From Image
เลือกไปที่ไฟล์ที่ได้แบ็คอัพเอาไว้ แล้วคลิก OK ตลอด
หน้าต่างนี้ถามว่าต้องการรีสโตร์มั๊ยคลิก Yes
รอจนครับ 100% จากนั้นก็รีสตาร์ทได้เลย ก็จะได้ระบปฏิบัติการที่อยู่ในสภาวะปกติ
เหมือนกับตอนที่ท่านได้ทำการแบ็คอัพเอาไว้ครับ ใช้เวลาแค่นิดเดียว
เฉลยแบบทดสอบ
1 ตอบ ค
2ตอบ ข
3ตอบ ก
4ตอบ ค
5ตอบ ง
6ตอบ ข
7ตอบ ก
8ตอบ ข
9ตอบ ง
10ตอบ ก
11ตอบ ง
12ตอบ ค
13ตอบ ข
14ตอบ ก
15ตอบ ค
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น